อิทธิพลของรายการคงค้างภายใต้ดุลยพินิจของผู้บริหาร และ การกากับดูแลกิจการที่มีผลต่อต้นทุนเงินลงทุน : การวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลช่วงยาวแบบไม่สมดุลด้วยแบบจาลอง Fixed Effects

Title
อิทธิพลของรายการคงค้างภายใต้ดุลยพินิจของผู้บริหาร และ การกากับดูแลกิจการที่มีผลต่อต้นทุนเงินลงทุน : การวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลช่วงยาวแบบไม่สมดุลด้วยแบบจาลอง Fixed Effects
Publication Date
2016-05
Author(s)
มอสส, สุภาวดี สุขีชีพ
( author )
OrcID: https://orcid.org/0000-0001-9535-9283
Email: ssukeec2@une.edu.au
UNE Id une-id:ssukeec2
Type of document
Journal Article
Language
other
Entity Type
Publication
Place of publication
Bangkok, Thailand
UNE publication id
une:1959.11/55390
Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์อิทธิพลของรายการคงค้างภายใต้ดุลยพินิจของผู้บริหารและการกากับ ดูแลกิจการที่มีต่อต้นทุนเงินลงทุน ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิจัยนี้ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ 2 กลุ่ม คือ 1. รายการคงค้างภายใต้ดุลยพินิจของผู้บริหารโดยประมาณค่าจากค่าสัมบูรณ์ด้วยแบบจาลอง Performance Matched Discretionary Accruals และ 2. การกากับดูแลกิจการซึ่งประกอบด้วย การควบตาแหน่งของ คณะกรรมการบริษัทที่มากกว่า 1 ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ความเป็นอิสระของ คณะกรรมการบริษัทขนาดของคณะกรรมการ การควบตาแหน่งของซีอีโอและประธานคณะกรรมการ ความเชี่ยวชาญ ทางด้านการเงินและบัญชีของคณะกรรมการตรวจสอบ ความเห็นของผู้สอบบัญชี ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหาร และ ผู้ถือหุ้นที่ เป็นสถาบันการเงิน ส่วนตัวแปรตามที่ใช้ในงานวิจัยชิ้นนี้คือ ต้นทุนของเงินลงทุนที่ประมาณค่าจากแบบจาลองการกาหนด ราคาสินทรัพย์ทุน (Capital Asset Pricing Model: CAPM) จากการวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลช่วงยาวแบบไม่สมดุลด้วยแบบ จาลอง Fixed Effects พบว่ารายการคงค้างภายใต้ดุลยพินิจของผู้บริหารและผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารมีอิทธิพลในการเพิ่ม ต้นทุนของเงินลงทุน ในทางตรงกันข้าม ความเป็นอิสระของคณะกรรมการบริษัท ขนาดของคณะกรรมการบริษัท ความ เชี่ยวชาญทางด้านการเงินและบัญชีของคณะกรรมการตรวจสอบ และผู้ถือหุ้นที่เป็นสถาบันการเงินมีอิทธิพลในการลด ต้นทุนเงินลงทุนของกิจการ

Abstract

The main objective of this study is to analyze the influence of discretionary accruals and corporate governance on the cost of equity capital in Thai listed companies. Two groups of independent variable are comprised in this study: 1. discretionary accruals estimated from Performance matched discretionary accruals model and 2. corporate governance mechanisms included: board independence, board size, CEO-chair duality, audit committee financial expertise, audit opinion, managerial ownership and institutional shareholders. The dependent variable in this study is the cost of equity capital estimated from the capital assets pricing model (CAPM). Using unbalanced panel data with fixed effects model, this study reveals that companies with greater discretionary accruals and higher proportion of managerial ownership are likely to have higher cost of equity capital. In contrast, the companies with greater board independence, board size, audit committee financial expertise, and institutional shareholders are likely to experience lower cost of equity capital.

Link
Citation
Journal of the Association of Researchers, 21(2), p. 171-187
ISSN
0859-2330
Start page
171
End page
187

Files:

NameSizeformatDescriptionLink